รุ่งเรืองพันธุ์ปาล์ม
แปลงเพาะพันธุ์ปาล์มน้ำมัน อันดับ 1 ภาคอีสาน
หน้าแรก
พันธุ์ปาล์มน้ำมัน
พันธุ์ปาล์ม-ซุปเปอร์ยีนไฮบริด
พันธุ์ปาล์ม-ยังกัมบิ
พันธุ์ปาล์ม-ยูนิวานิช
พันธุ์ปาล์ม-ชาเมร่า
พันธุ์ปาล์ม-เดลิคอมแพค
พันธุ์ปาล์ม-เดลิกาน่า
พันธุ์ปาล์ม-เดลิไนจีเรีย
พันธุ์ปาล์ม-ซีหราด
พันธุ์ปาล์ม-สุราษฎร์2
พันธุ์ปาล์ม-สุราษฎร์7
คู่มือจัดการสวนปาล์ม
การเลือกพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน
การเตรียมพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน
การใส่ปุ๋ยปาล์มน้ำมัน
การปลูกและดูแลรักษาสวนปาล์มน้ำมัน
การตัดแต่งทางใบในสวนปาล์ม
การเก็บและตัดทะลายปาล์มน้ำมัน
การให้น้ำในสวนปาล์มน้ำมัน
การบันทึกข้อมูลปาล์มน้ำมัน
วิชาการปาล์มน้ำมัน
อาการขาดธาตุอาหารในปาล์มน้ำมัน
การเลือกซื้อพันธุ์ปาล์มน้ำมัน
ข่าวประชาสัมพันธ์
เกษตรกรตัวอย่าง
ติดต่อเรา
Home
» คู่มือจัดการสวนปาล์ม
คู่มือจัดการสวนปาล์ม
การเลือกพื้นที่ ปลูกปาล์มน้ำมัน
ควรเลือกพื้นที่ที่ดินมีชั้นหน้าดินลึก ความอุดมสมบูรณ์สูงถึงปานกลาง
ควรมีลักษณะดินร่วน ดินร่วนปนดินเหนียว ดินเหนียวเนื้อดินไม่ควรเป็นทรายจัดไม่มีชั้นลูกรัง หรือชั้นดินดานสูงมากกว่า 0.50 เมตร
มีการระบายน้ำดีถึงปานกลาง น้ำไม่แช่ขังนานมีระดับน้ำใต้ดินตื้น ความเป็นกรดเป็นด่างของดินที่ี่เหมาะสม 4 – 6
ความลาดเอียง 1 – 12 % แต่ไม่ควรเกิน 23 %
ควรอยู่ในเขตที่มีปริมาณน้ำฝนไม่น้อยกว่า 1,800 มม./ปีแต่ละเดือนควรมีฝนเฉลี่ยประมาณ 120 มม./เดือนฝนทิ้งช่วงติดต่อกันนานไม่เกิน 3 เดือนเพราะช่วงแล้งที่ยาวนานทำให้ดอกตัวเมียลดลง ดอกตัวผู้ของกล้าปาล์มน้ำมันเพิ่มขึ้นส่งผลให้ผลผลิตกล้าปาล์มน้ำมันลดลงในเวลา 19 – 22 เดือนหลังจากนั้น
มีแหล่งน้ำเพียงพอสำรองไว้ใช้ ถ้ามีการขาดน้ำมากกว่า 300 มม.ต่อปีหรือช่วงแล้งติดต่อมากกว่า 4 เดือน
พื้นที่ที่มีสภาพไม่เหมาะสมสำหรับปลูกปาล์มน้ำมัน เช่นดินขาดความอุดมสมบูรณ์สภาพพรุ ดินค่อนข้างเค็มพื้นที่ที่มีน้ำท่วมขังนาน ฯลฯต้องมีการจัดการแก้ไขตามสภาพปัญหาของพื้นที่นั้นๆ
เป็นพื้นที่ที่มีแสงแดดประมาณ 2,000 ชั่วโมง/ปีหรือไม่ควรต่ำกว่า 5 ชั่วโมงต่อวัน
อุณหภูมิ 22 – 32 องศาเซลเซียส
ไม่อับลมและไม่มีลมพัดแรง
Copyright © 2012. รุ่งเรืองพันธุ์ปาล์ม All Rights Reserved.